Nanecotourism

สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัด น่าน

บทนำ

การศึกษาวิเคราะห์ศิลปะหัตถกรรมพื้นบ้านจังหวัดน่าน

จังหวัดน่านเป็นดินแดนที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานเคียงคู่กับนครรัฐสุโขทัยและเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีความสาคัญในภาคเหนือน่านมีทรัพยากร
ทางธรรมชาติมากมายมีวัฒนธรรมอันโดดเด่นเป็นของตนเองสืบทอดจากอดีตมาถึงปัจจุบันจนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งทางด้านสถาปัตยกรรมประ
ติมากรรมศิลปกรรมต่างๆตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามน่านมีประชากรอาศัยอยู่หลายชาติพันธุ์ซึ่งประกอบไปด้วย

  1. ชาวไทยวน หรือคนเมืองส่วนใหญ่อพยพมาจากเชียงแสนและบริเวณต่างๆของล้านนาซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด
  2. ชาวไทลื้อ (ไทลื้อ, ไทยอง) ส่วนใหญ่อพยพมาจากสิบสองปันนาและหัวเมืองต่างๆ บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าโขง ชาวไทลื้ออาศัยตั้งบ้านเรือน
    อยู่กระจัดกระจายตามลุ่มน้ำต่างๆ
  3. ชาวไทพวน หรือ ลาวพวน
  4. ชาวไทเขิล หรือ ชาวขึ้น อพยพมาจากเชียงตุง
  5. ชาวไทใหญ่ หรือ เงี้ยว หรือ ไตโหลง มีถิ่นฐานในรัฐฉานและเชียงตุง

พื้นที่ จังหวัดน่าน


จังหวัดน่าน ประกอบไดด้วย 15 อำเภอซึ่งได้แก่

  1. อำเภอเมืองน่าน
  2. อำเภอแม่ริม
  3. อำเภอบ้านหลวง
  4. อำเภอนาน้อย
  5. อำเภอปัว
  6. อำเภอท่าวังผา
  7. อำเภอเวียงสา
  8. อำเภอทุ่งช้าง
  9. อำเภอเชียงกลาง
  10. อำเภอนาหมื่น
  11. อำเภอสันติสุข
  12. อำเภอบ่อเกลือ
  13. อำเภอสองแคว
  14. อำเภอภูเพียง
  15. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ภาพที่ 1.1 ตำแหน่งพื้นที่อำเภอของจังหวัดน่าน

วิถีชีวิตและวัฒนะธรรม

ภาพที่ 1.2 แสดงวิถีชีวิตในงานประเพณีตานก๋วย
สลาก วัดพระธาตุแช่แห้ง พระอาราม
หลวง จ.น่าน

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย
ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

ภาพที่ 1.3 แสดงวิถีชีวิตทำบุญตักบาตรใน
วันขึ้นปีใหม่บริเวณวัดสวน
ตาล จ.น่าน

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย
ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

ภาพที่ 1.4 แสดงการฟ้อนรำของสาวชาวน่านในงาน
ปีใหม่เมืองน่านแต่งการสวยงามด้วยผ้าซิ่น

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย
ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

ภาพที่ 1.5 แสดงกลุ่มหญิงชาวน่านแต่งกาย
ตามลักษณะไทลื้อ

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย
ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

ภาพที่ 1.6 แสดงฝงชนชาวน่านและนักท่องเที่ยงชมการแข่งเรืออย่างสนุก ในวันประเพณีแข่งเรือน่าน ณ สองฝั่งลำน้ำน่าน

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

วิถีชีวิตและวัฒนะธรรม

จากการศึกษาข้อมูลเอกสารและการสารวจงานศิลปหัตถกรรมพบว่าชาวน่านมีภูมิปัญญาในการทอผ้าการปักผ้าแบบชาวเขาการทา
เครื่องเงินการทาเครื่องปั้นดินเผาการทาโคมผ้าการตีเหล็กอุปกรณ์เครื่องใช้เช่นมีดและการประดิษฐ์เครื่องจักสานเพื่อใช้ในชีวิตประจาวันด้วยความหลากหลายวัฒนธรรมที่เกิด
จากการหล่อหลอมรวมของชาติพันธุ์จากอดีตที่ได้กล่าวมาข้างต้นและผสานกลมกลืนจนถึงปัจจุบันทาให้งานศิลปหัตถกรรมของชาวน่านมีความงามและมีเอกลักษณ์เฉพาะ
เช่นผ้าทอมือลายน้าไหลเครื่องเงินสลุงที่มีลวดลายแบบโบราณและยังอนุรักษ์การทาด้วยมือซึ่งเป็นวิธีแบบดั้งเดิมทาด้วยเงินแท้บริสุทธิ์เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นของดีเมืองน่าน

นอกจากผ้าทอและเครื่องเงินแล้วยังมีการแกะสลักเรือแข่งจาลองและเครื่องจักสานหญ้าสามเหลี่ยมซึ่งเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่มีชื่อ
เสียงในปัจจุบันด้วยเช่นกันโดยเรือแข่งจำลองนั้นเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่เกิดจากแรงบันดาลใจจากประเพณีการแข่งเรืออันเลื่องชื่อของชาวน่านส่วนเครื่องจักสานนั้นชาวน่านมีฝีมือในการทาเครื่องจักสานไว้ใช้ในครัวเรือนซึ่งมีรูปแบบมากมายอีกทั้งยังมีการประดิษฐ์เครื่องจักสานที่ทาจากวัสดุหญ้าสามเหลี่ยมที่มีความสวยงามและเป็นเอกลักษณ์
ของชาวภูฟ้า

ภาพที่ 1.7 แสดงการประดิษฐ์เคื่องจักสานที่เป็นเครื่องใช้ในชีวิตประจำวันของชาวน่าน

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย ณัฐวุฒิ ใจทน , 2554

ภาพที่ 1.8 แสดงหญิงชาวน่านนั่งทอผ้าเป็นงานเสริม ภานยบริเวณวัดหนองบัวจังหวัดน่าน

ที่มา : ภาพลายเส้นากภาพถ่ายโดย กรวรรณ งามวรธรรม 2555

ศิลปหัตถกรรมกรณีศึกษา

จากวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อมุ่งเน้นรวบรวมงานศิลปหัตถกรรมในจังหวัดน่านที่สอดคล้องกับการดารงชีวิตสภาพแวด
ล้อมของท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะนาไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มรายได้แก่ท้องถิ่นพร้อมทั้งยังเป็นการสนับสนุนการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์(สนองโครงการภูฟ้าพัฒ
นาอันเนื่องมาจากพระราชดาริของสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี)จึงได้รวบรวมงานศิลปกรรมหัตถกรรมที่เกี่ยวข้องโดยนาเสนอเหตุผลและความสาคัญ
ดังนี้

ข้อมูลเพิ่มเติม

1. งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอมือ

2. งานศิลปหัตถกรรมเครื่องเงิน

3. งานศิลปหัตถกรรมเรือแข่งจำลอง

4. งานศิลปหัตถกรรมเครื่องจักสาน

Nanecotourism